ใครฉีดวัคซีน ซิโนฟาร์ม รีบเช็กด่วน

ใครฉีดวัคซีน ซิโนฟาร์ม รีบเช็กด่วน

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากเมืองโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา ว่า

เมื่อวันที่ 21 ก.ค. คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีชยวรรธนปุระ หนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำของศรีลังกาพบว่า

วัคซีนป้องกัน (cv-19) ของซิโนฟาร์ม (Sinopharm) บริษัทเภสัชภัณฑ์สัญชาติจีน มีประสิทธิภาพสูงในการต้านไ ว รั สฯ ชนิดกลายพันธุ์ สายพั นธุ์เ ด ล ตา (Delta) ซึ่งกลายเป็นสายพันธุ์หลักที่แพร่ทั่วโลกในขณะนี้

เราพบวัคซีนดังกล่าวมีประสิทธิภาพป้องกันสายพันธุ์เดลตาในระดับสูง โดยการตอบสนองของแอนติบอดีต่อสายพันธุ์เดลตาและแอนติบอดีชนิดลบล้างฤทธิ์มีระดับคล้ายคลึงหลังการติดตามธรรมชาติ มหาวิทยาลัยฯ เปิดเผยผ่านเว็บไซต์เมื่อวันจันทร์ (19 ก.ค.)

การศึกษาพบว่าร้อยละ 95 ของผู้ฉี ดวั ค ซี นของซิโนฟาร์มครบโด๊สพัฒนาแอนติบอดีคล้ายผู้ติดไ ว รั สฯ ตามธรรมชาติ อีกทั้งพบว่าวั ค ซี นซิโนฟาร์ม จำนวน 2 โด๊ส สร้างแอนติบอดีชนิดล บล้างฤทธิ์ในผู้รับร้อยละ 81.25 ใกล้เคียงกับกลุ่มคนที่มีประวัติป่ว ยcv-19 ตามธรรมชาติ

ทีมวิจัยประกอบด้วยศาสตราจารย์นีลิกา มาลาวิก นักวิทยาศาสตร์ชาวศรีลังกา หัวหน้าแผนกภูมิคุ้มกันวิทยาและเวชศาสตร์โมเลกุลจากมหาวิทยาลัยฯ ดอกเตอร์จันทิมา จีวรรณดารา รวมถึงนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ได้แก่ ศาสตราจารย์เกรแฮม ออกก์ และศาสตราจารย์อเลน ทาวเซนด์

มาลาวิกเปิดเผยกับสำนักข่าวซินหัวว่าวัคซีนของซิโนฟาร์มเป็นวั คซี นที่ใช้กันมากที่สุดในศรีลังกาขณะนี้ สืบเนื่องจากปริมาณวั ค ซี นที่มีสำรองอยู่ภายในประเทศ

โดยศรีลังกาดำเนินการฉี ดวั คซี นของซิโนฟาร์ม โด๊สแรก ให้ประชาชน 4.63 ล้านคนแล้ว

และมีผู้ฉี ด วัค ซี นโด๊สสอง 1.29 ล้านคน โดยไม่มีรายงานกรณีผลข้างเคียงร้ายแรงเชื่อมโยงกับวัคซีนแต่อย่างใด

มาลาวิกกล่าวว่าการศึกษาข้างต้นเป็นงานวิจัยด้านข้อมูลวั ค ซี นของซิโนฟาร์มชิ้นแรกที่มีการเผยแพร่ในโลก โดยผู้เชี่ยวชาญได้พิจารณาทุกแง่มุมที่เป็นไปได้ของระบบภูมิคุ้มหลังการฉี ด วั ค ซีนตัวนี้ ซึ่งถูกนำไปศึกษาประสิทธิภาพการป้องกันสายพั นธุ์อัลฟา (Alpha) เบตา (Beta) ตลอดจนไ วรั สฯ สายพั นธุ์ดั้งเดิมด้วย

ข้อสรุปของรายงานนี้คือเมื่อเป็นสายพันธุ์เดลตาและสายพันธุ์อื่นๆ วั ค ซี นของซิ โ น ฟ าร์มสามารถกร ะตุ้ นการตอบสนองของแอน ติ บ อ ดีในระดับใกล้เคียงกับคนที่ติดไ วรั สฯ ตามธรรมชาติ ซึ่งถือเป็นเรื่องดีมาก มาลาวิกระบุ ร้อยละ 98 ของกลุ่มคนอายุ 20-40 ปีมีการพัฒนาแอ นติบ อ ดี ขณะสัดส่วนดังกล่าวในกลุ่มคนอายุมากกว่า 60 ปี อยู่ที่ร้อยละ 93 ซึ่งไม่น่าแปลกใจเนื่องจากคนสูงอายุมีแนวโน้มตอบสนองต่อวั คซี นน้อยกว่า

ทั้งนี้ มาลาวิกเสริมว่าข้อมูลของซิโนฟาร์มรูปแบบดังกล่าวไม่เคยเผยแพร่ในโลกมาก่อน และข้อมูลการใช้งานจริงเช่นนี้มีความสำคัญต่อการสร้างความเชื่อมั่นด้านวั ค ซี นทั้งในและต่างประเทศ

ขอบคุณ สำนักข่าวซินหัว

:: ร่วมแสดงความคิดเห็นกับสิ่งนี้

:: เนื้อหาข่าวที่น่าสนใจ